เว็บบอร์ด ไทยเอ็นจิเนียร์โซไซตี้ (ThaiEngineerSociety Webboard)

สนทนาตามประสา => ห้องไฟฟ้า / อิเล็กทรอนิกส์ / คอมพิวเตอร์ => ข้อความที่เริ่มโดย: adulmr ที่ มีนาคม 01, 2013, 11:47:47 AM

หัวข้อ: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: adulmr ที่ มีนาคม 01, 2013, 11:47:47 AM
ดูเหมือนเป็นคำถามหน่อมแน้ม แต่ผมไม่รู้จริงๆ
คือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (3 เฟส)
บางทีผมก็เห็นมันบอกกำลัง ? ของเครื่องเป็น kW ซึ่งผมเข้าใจว่าคือ กิโลวัตต์
แต่บางทีก็มาบอกเป็น kVA ผมคิดว่าเป็น กิโลโวลต์แอมป์(แปร์)
ก็เลยงงๆว่า สองแบบนี้มันต่างกันยังไงครับ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: Gaojing ที่ มีนาคม 01, 2013, 10:54:25 PM
มาเก็บความรู้ด้วยคนครับ
รอท่านอาจารย์อิน รู้ชัวร์ 8)
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 02, 2013, 08:34:26 AM
สวัสดีครับ ท่าน อดุลย์ ท่านGaojing
แหม่ ..ถามมาในแนวนี้ ถ้า อินทะเนียร์น้อย ไม่ตอบ ก้อคงลำบากปิ๊บอีแหละ   อิอิ.....ด้วยความยินดี เเละเต็มใจที่จะเล่าให้ท่านทั้งสองฟัง ครับ  พี่น้อง ..ขอชมว่า ท่าน อดุลย์ นี่ช่างสังเกตุสังกา ดีจริงๆครับ  สุดยอด
มาที่รูป ที่1 เลย ..เค้าเรียกว่า รูป สามเหลียมกำลัง....ครับ(สามเหลี่ยมกำลัง ..เฉยๆนะครับ  พี่น้อง...ไม่ใช่กำลังจะXXX   อิอิ)..มันเป็นความสัมพันธุ์ ที่เป็นจริงในเรื่องระบบไฟฟ้ามานานแล้วครับ  จนพวกเราชาว ไฟฟ้าได้ พึ่งใบบุญของ สามเหลี่ยมนี้ หากิน อิอิ...ถ้าเป็น อาจารย์ ก้อจะเมาต์เรื่อง สามเหลี่ยม เป็น ช.ม  ครับ   อิอิ(แต่สามเหลี่ยม ที่บ้าน จะธิบาย ราว สิบนาที  ..เฮ้อ  ..ลมค้าง ..ว่าไป  ..กลุ้มด้วยคน  อิอิ..มันสามเหลี่ยมอะไรละ.เหี่ยว เป่า ..งง) ....มาที่ ด้านตรงข้ามมุมฉากก่อนครับ ..ด้านนี้แหละ ที่เขาแทนด้วย Sมีหน่วยเป็น..โวลต์ กับ เเอมป์ .. VA   ถ้ามีมากๆ ก้อจะเป็น กิโล K  ครับ เช่น KVA, มาดูด้านประชิดมุมฉากแนวนอนมั่ง ด้านนี้แหละที่เขา เเทน กำลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริงๆครับ..P.. มีหน่วยวัดเป็น  watt  ถ้ามากๆก้อเป็น KWattครับ    จะเห็นว่า ตัวจ่ายไฟฟ้าจริงๆคือ Sและตัวที่ใชงานได้จริงๆคือP....ถ้า SกับP มันทับกันเลยถือว่า สุดยอด แต่มันจะทับกันแบบ แนบเเน่นสนิท ก้อ ในระบบไฟฟ้า ดีซี เท่านั้นครับ  ส่วนระบบไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเป็นระบบ เอซี  ครับ  มันจะทำให้ทั้งสองด้านนี้ ทำมุมกันอยู่ เรียกว่า มุมต่างเฟสครับ หรือ ค่า เพาเวอร์เเฟคเตอร์ นั่นเอง...ดังนั้น หากระบบไฟฟ้าใดๆมี มุมนี้มากๆ จะทำให้ประสิทธิภาพในการส่งจ่ายไฟฟ้าตำครับ   จะมีวิธีแก้เรียกว่า การแก้เพาเวอร์เเฟคเตอร์ คือ การทำให้ ด้าน Qมีค่าน้อยลง โดยการใส่ คาปาซิเตอร์ เข้าไปในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าครับ  เพื่อรักษาค่า มุมต่างเฟสไม่ให้มันมาก การไฟฟ้าจะกำหนดไว้ที่ 0.85 ราวๆ 31องศา  ครับ  หากค่านี้ต่ำๆมาก เช่นเป็น 0.2 จะได้มุมของด้านนี้ มากขึ้นครับเป็น  77องศา  อันนี้แหละ การไฟฟ้า มาบีบไx เจ้าของ กิจการแน่เรียกคิดเงินค่า ทำให้ต่ำด้วย บานตะเกียงเลยคราวนี้  เพราะ กำลังที่ใช้งานจริงได้เท่าเดิม แต่ทำให้การไฟฟ้าต้อง ปั่นไฟฟ้าเพิ่มขึ้นโดยเสียเปล่าครับ...จึงคิดค่า..ของด้าน Q ที่มีหน่วยเป็น  VAR หรือ ... KVARครับ
   ดังนั้น จึงขอสรุปให้ ท่าน อดุลย์ และ ท่าน Gaojing ฟังว่า ที่ถูกต้อง ต้องเขียน ...หน่วยเป็น โวล็ แอมป์ VA  ครับ....จะมีรูป ที่ 2และ3 มาให้ดูเป็นตัวอย่างครับ   ถ้ายังไม่เคลียร์ มาอีกได้ครับ   จบข่าว :D ;D
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: jubu ที่ มีนาคม 02, 2013, 09:30:07 AM
สามเหลี่ยมมหัศจรรย์ ;D ;D
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: adulmr ที่ มีนาคม 02, 2013, 11:19:44 AM
แหม ไม่ผิดหวังจริงๆ
ขอบคุณท่านอินทะเนียร์น้อยครับ
อ่านแล้วพอจะเข้าใจบ้างนิดหน่อย
แถมได้ กิโลวาร์ kVAR เพิ่มมาอีกอย่าง ซึ่งผมเคยเห็นไอ้หน่วยแบบนี้ในบิลค่าไฟฟ้าของที่ทำงาน ก้ได้แต่งงๆ (ที่ทำงานใช้ไฟฟ้า 3 เฟสครับ ค่าไฟเดือนละแสนต้นๆ)
 
ไว้ช่วงไหนว่างๆ ผมจะลองไปไล่อ่านทีละประเด็นให้ละเอียดกันอีกที
ถ้าหากใครมาถามเรื่องนี้ ผมจะโม้ให้มันฟังได้ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 03, 2013, 07:13:15 AM
ขอบคุณ ท่าน อดุลย์ ที่ชมครับ....วันนี้มีมาอีกครับ...เป็นเรื่องที่ท่าน อดุลย์ กล่าวถึงครับ  คือ Kvarนั่นแหละเป็นข่าวจากเว็บ กรมประชาฯครับ....เลยตั้งข้อสังเกตุให้ท่านในรูปแรก ...เป็นการลดความยาวของด้านQครับคือ การแก้เพาเวอร์เเฟคเตอร์ โดยการใส่ แคปฯเข้าไปในระบบของ ผู้ใชงาน (รง บ้านขนาดใหย์ๆ  )..จะทำให้ รักษาระดับของ PF 0.8-0.9 ได้ครับ...มีวิศวกรหลายคน ทำงานให้กับ บริษัท รับแก้นี้ จนรวย เพราะ มันไม่ ซับซ้อนอะไร แค่ออกแบบคำนวณค่า ซีนั้น และมีเครื่องควบคุม มันจะสับค่าให้พอดีกับค่าที่ต้องการแก้นั้นๆ..ถ้าไม่แก้..การไฟฟ้าลูบปาก  ยิ้ม  ..มีค่าดีมานชาร์ท  มาเสนอ...มีโรงงานหนึ่งที่รู้จัก....เสียค่า ดีมานชาร์ท (Q.).เดือนละ  สองแสนบาท...ค่ากำลงไฟฟ้า(P)ที่ใช้จริงอีกต่างหากนะครับ...ตอนนี้หยุดอยู่ครับ(ขาสั่น  มันจะเจ้งเพราะหาเงินให้การไฟฟ้า และโบนัส พนักงานนี่แหละ  อิอิ)...ดูกันเลยครับ จบข่าว :D :D :D

ประเภทที่ 1 : บ้านอยู่อาศัย ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 1.1 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 5 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 5) เป็นเงิน0.00บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 6 - 15) หน่วยละ1.3576บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 - 25) หน่วยละ1.5445บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 - 35) หน่วยละ1.7968บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 - 100)หน่วยละ2.1800บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 - 150)หน่วยละ2.2734บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ2.7781บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ2.9780บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 8.19 บาท 1.2 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 150) หน่วยละ 1.8047 บาท 250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ 2.7781 บาท เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 2.9780 บาท ค่าบริการ : เดือนละ 40.90 บาท 1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak
1.3.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์3.62461.1914228.17
1.3.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์4.30931.224657.95

On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย) หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตรา ข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือนในเดือนถัดไป จะจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือนในเดือนถัดไป จะจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 1.1 ตามเดิม 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตรา ข้อ 1.2 ตลอดไป 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตรา ข้อ 1.2 สามารถเลือกใช้อัตรา ข้อ 1.3 ได้ และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯTOU หรือ ค่าบริการด้านเครื่องวัดฯTOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน จะขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตรา ข้อ 1.2 ตามเดิมอีกก็ได้ 4. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประสงค์จะเลือกใช้อัตรา ข้อ 1.3 จะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และการไฟฟ้านครหลวงจะติดตั้งเครื่องวัดฯTOU ให้ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2545 เป็นต้นไป 5. สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้ 6. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้จะไม่มีการใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 2 : กิจการขนาดเล็ก ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรืออื่น ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 2.1 อัตราปกติ อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 2.1.1 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลท์หน่วยละ2.4649บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 228.17 บาท 2.1.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 150) หน่วยละ1.8047บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ2.7781บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ2.9780บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 40.90 บาท 2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak
2.2.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์3.62461.1914228.17
2.2.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์4.30931.224657.95

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 2 นี้ หากในรอบเดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 หรือประเภทที่ 5 แล้วแต่กรณี และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 2 อีกต่อเมื่อความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าว ลดลงต่ำกว่า
30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตรา ข้อ 2.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 ได้ และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯTOU หรือค่าบริการด้านเครื่องวัดฯTOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า12 เดือน จะขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตรา ข้อ 2.1 ตามเดิมอีกก็ได้ 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประสงค์จะเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 จะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และการไฟฟ้านครหลวงจะติดตั้งเครื่องวัดฯTOU ให้ตั้งแต่เดือน มกราคม 2545 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้จะไม่มีการใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 3 : กิจการขนาดกลาง ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติและสถานที่ทำการขององค์การระหว่าง ประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 3.1 อัตราปกติ อัตรารายเดือน ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
3.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป175.701.6660
3.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์196.261.7034
3.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์221.501.7314

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ 3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าความต้องการ
พลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff PeakOn PeakOff Peak
3.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ 74.1402.61361.1726228.17
3.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 132.9302.69501.1914228.17
3.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 210.0002.84081.2246228.17

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 3.1 สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 3.2 ในเดือนถัดไปหลังจาก
เดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯTOU แล้ว ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าตามอัตรา ข้อ 3.1 ไปพลางก่อน 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไปในเดือนใด หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะถูกจัดเข้าอยู่
ในประเภทที่ 4 ข้อ 4.2 ในเดือนถัดไปหลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯTOU แล้ว ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าอัตราข้อ 3.1 ไปพลางก่อน แม้ว่าต่อมาจะมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 1,000 กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือนก็ตาม 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 3 อีก เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้า
ดังกล่าวตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์ 4. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 3.2 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมอีกไม่ได้ แม้ว่าต่อมาจะมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือนก็ตาม นอกจากจะมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน หรือได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้า 5. กรณีที่จะต้องเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือน ในอัตราร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ( Demand Charge ) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมานั้น ให้มีการยกเว้นการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดดังกล่าวไปก่อน จนถึงเดือน กันยายน 2545 6. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.2 จะต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย ประเภทที่ 4 : กิจการขนาดใหญ่ ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทำการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( Time of Day Tariff : TOD Tariff ) อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
On PeakPartial PeakOff Peakทุกช่วงเวลา
4.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป 224.30 29.91 01.6660
4.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 285.05 58.88 01.7034
4.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 332.71 68.22 01.7314
On Peak: เวลา 18.30-21.30 น. ของทุกวัน
Partial Peak: เวลา 08.00-18.30 น. ของทุกวัน
คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าเฉพาะส่วนที่เกินจากช่วง On Peak
Off Peak: เวลา 21.30-08.00 น. ของทุกวัน ไม่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า


ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ
เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าความต้องการ
พลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff PeakOn PeakOff Peak
4.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ 74.1402.61361.1726228.17
4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 132.9302.69501.1914228.17
4.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 210.0002.84081.2246228.17

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 03, 2013, 07:18:52 AM
ข่าวจากการไฟฟ้า  จบข่าว:D :D :D :D :D :D

ประเภทที่ 1 : บ้านอยู่อาศัย ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 1.1 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 5 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 5) เป็นเงิน0.00บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 6 - 15) หน่วยละ1.3576บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 - 25) หน่วยละ1.5445บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 - 35) หน่วยละ1.7968บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 - 100)หน่วยละ2.1800บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 - 150)หน่วยละ2.2734บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ2.7781บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ2.9780บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 8.19 บาท 1.2 ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 150) หน่วยละ 1.8047 บาท 250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ 2.7781 บาท เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 2.9780 บาท ค่าบริการ : เดือนละ 40.90 บาท 1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak
1.3.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์3.62461.1914228.17
1.3.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์4.30931.224657.95

On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย) หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตรา ข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือนในเดือนถัดไป จะจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือนในเดือนถัดไป จะจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 1.1 ตามเดิม 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตรา ข้อ 1.2 ตลอดไป 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตรา ข้อ 1.2 สามารถเลือกใช้อัตรา ข้อ 1.3 ได้ และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯTOU หรือ ค่าบริการด้านเครื่องวัดฯTOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน จะขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตรา ข้อ 1.2 ตามเดิมอีกก็ได้ 4. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประสงค์จะเลือกใช้อัตรา ข้อ 1.3 จะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และการไฟฟ้านครหลวงจะติดตั้งเครื่องวัดฯTOU ให้ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2545 เป็นต้นไป 5. สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้ 6. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้จะไม่มีการใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 2 : กิจการขนาดเล็ก ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรืออื่น ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 2.1 อัตราปกติ อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้า 2.1.1 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลท์หน่วยละ2.4649บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 228.17 บาท 2.1.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 150) หน่วยละ1.8047บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400) หน่วยละ2.7781บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ2.9780บาท

ค่าบริการ : เดือนละ 40.90 บาท 2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak
2.2.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์3.62461.1914228.17
2.2.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์4.30931.224657.95

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 2 นี้ หากในรอบเดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 หรือประเภทที่ 5 แล้วแต่กรณี และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 2 อีกต่อเมื่อความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าว ลดลงต่ำกว่า
30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตรา ข้อ 2.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 ได้ และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯTOU หรือค่าบริการด้านเครื่องวัดฯTOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า12 เดือน จะขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตรา ข้อ 2.1 ตามเดิมอีกก็ได้ 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประสงค์จะเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 จะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และการไฟฟ้านครหลวงจะติดตั้งเครื่องวัดฯTOU ให้ตั้งแต่เดือน มกราคม 2545 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้จะไม่มีการใช้ไฟฟ้า ประเภทที่ 3 : กิจการขนาดกลาง ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติและสถานที่ทำการขององค์การระหว่าง ประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 3.1 อัตราปกติ อัตรารายเดือน ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
3.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป175.701.6660
3.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์196.261.7034
3.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์221.501.7314

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ 3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าความต้องการ
พลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff PeakOn PeakOff Peak
3.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ 74.1402.61361.1726228.17
3.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 132.9302.69501.1914228.17
3.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 210.0002.84081.2246228.17

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 3.1 สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตรา ข้อ 3.2 ในเดือนถัดไปหลังจาก
เดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯTOU แล้ว ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าตามอัตรา ข้อ 3.1 ไปพลางก่อน 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไปในเดือนใด หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะถูกจัดเข้าอยู่
ในประเภทที่ 4 ข้อ 4.2 ในเดือนถัดไปหลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯTOU แล้ว ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าอัตราข้อ 3.1 ไปพลางก่อน แม้ว่าต่อมาจะมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 1,000 กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือนก็ตาม 3. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 3 อีก เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้า
ดังกล่าวตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์ 4. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 3.2 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวงก่อน และจะต้องชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมอีกไม่ได้ แม้ว่าต่อมาจะมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือนก็ตาม นอกจากจะมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน หรือได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้า 5. กรณีที่จะต้องเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือน ในอัตราร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ( Demand Charge ) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมานั้น ให้มีการยกเว้นการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดดังกล่าวไปก่อน จนถึงเดือน กันยายน 2545 6. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.2 จะต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย ประเภทที่ 4 : กิจการขนาดใหญ่ ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทำการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( Time of Day Tariff : TOD Tariff ) อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
On PeakPartial PeakOff Peakทุกช่วงเวลา
4.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ขึ้นไป 224.30 29.91 01.6660
4.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 285.05 58.88 01.7034
4.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 332.71 68.22 01.7314
On Peak: เวลา 18.30-21.30 น. ของทุกวัน
Partial Peak: เวลา 08.00-18.30 น. ของทุกวัน
คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าเฉพาะส่วนที่เกินจากช่วง On Peak
Off Peak: เวลา 21.30-08.00 น. ของทุกวัน ไม่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า


ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ
เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) อัตรารายเดือน ค่าความต้องการ
พลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff PeakOn PeakOff Peak
4.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลท์ 74.1402.61361.1726228.17
4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลท์ 132.9302.69501.1914228.17
4.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลท์ 210.0002.84081.2246228.17

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่�
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 03, 2013, 07:33:42 AM
ต่อครับ  มันยาวๆๆๆมาก   จบข่าว :D :D :D :D :D

>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>

On Peak: เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
Off Peak: เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ และ วันหยุดราชการ
ตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคล และวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือนคือความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือนเศษของกิโลวัตต์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวัตต์ ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า
รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ
เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ
14.02 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่
0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ หมายเหตุ 1. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 5 จะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เท่านั้น ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯTOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าในข้อ 5.1 ไปพลางก่อน 2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 5 อีกเมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป 3. กรณีที่จะต้องเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือน ในอัตราร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ( Demand Charge ) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมานั้น ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าต่ำสุดดังกล่าวไปก่อน จนถึงเดือน กันยายน 2545 4. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 5.2 จะต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 03, 2013, 07:44:10 AM
ท่าน อดุลย์ครับ ...รูป เนมเพลท  ที่สองนั้น...บริษัท  หวังดี บอกมาทั้ง สองกำลัง  แต่  เค้าจะบอก  ตัวคูณ ให้  ด้วย  คือ 80% หรือ 0.8.....นั่นหมายความว่า หากไปต่อ วงจรแล้ว รักษาความเป็น อินดักทีพโหลด ไม่เกิน 0.8 ละก้อ ได้ค่า P=250 KW  แน่นอน  ..ส่วน อีกป้าย ของ เมเดนฯนั้น  บอก เป็น KVA  มาให้เท่านั้น...ส่วนจะได้ ค่าP  เท่าไหรนั้น...ชั่งหัวคนใช้  อิอิ(ต้อง พึ่ง วิศวกรไฟฟ้า กันหน่อย แหละ   อิอิ)    จบข่าว >:( >:( >:( >:(
ปล ท่านjubu ก้อเป็น วิศวกรไฟฟ้า และ วิศวกรปลอดภัยด้วยนะครับ ท่าน อดุลย์ ...ท่านจึงรู้ว่ามันคือ..."สามเหลี่ยมมหัศจรรย์ ;D ;D"
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: Gaojing ที่ มีนาคม 03, 2013, 11:19:17 AM
ขอคารวะท่านอาจารย์อิน
ดื่มหมดจอกครับ  :D
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: adulmr ที่ มีนาคม 04, 2013, 08:05:42 AM
โห การคิดค่าไฟฟ้าบ้านเรานี่ ทำไมมันถึงซับซ้อนวุ่นวายดีแท้

ผมข้องใจเรื่องการใช้ไฟฟ้าช่วง peak อย่างหนึ่งครับ
คือ ยังงงอยู่ว่า ทำไมวันพืชมงคล ถึงได้แปลกแยกไปจากวันหยุดอื่นๆล่ะครับ
หรือว่าเป็นเพราะวันพืชมงคล ราชการเท่านั้นที่ได้หยุด แต่ธนาคารไม่ได้หยุด หรือไงครับ

อีกข้อ ถามย้ำอีกทีเพื่อความแน่ใจว่า เสาร์+ อาทิตย์ นี่ เป็น off peak ทั้ง 24 ชั่วโมง เลยใช่ไหมครับ
ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 04, 2013, 08:39:59 PM
จริงอย่าง ท่าน อดุลย์ ว่ามาครับ..."ต้องตีความกันอีกแล้ว"  ....เฮ้อ.....อ่านแล้ว  ..งง...เหมือนกันครับ...ขนาดเคยอบรม ได้ใบเซอร์ เป็น ผู้ประหยัดพลังงานมาแล้วนะครับ  ...กลุ้ม ..หรือ จะหาใบเซอร์ ลดโลกร้อน อีกใบครับ ท่าน อดุลย์  ..เออ..ปลอ่ยให้ ท่าน อดุลย์ เหอะ..ท่านมีสิทธิ..น่า อิจฉา จัง ...อิอิ.....ท่านGaojing  แจมมั๊ยครับ...โลกสวยด้วย นี้แหละ  ขอบอก   อิอิ    จบข่าว :D :D :D
ปล ขอบคุณ ท่านGaojing ที่ชม..และขอคารวะ หมดหม้อ..เรื่องหม้อ  ต้ม ของ ท่านjubu   ครับ 
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ มีนาคม 06, 2013, 10:35:48 PM
ท่าน อดุลย์ ครับ ลองถามสายด่วน....การไฟฟ้านครหลวง สายด่วน กฟภ.    1129....ดูครับ  น่าจะมีคำตอบ  หรือ อาจ มึน งง กับไฟฟ้า ไม่พอเดือนหน้านี้อยู่  ไม่แน่ใจ  อิอิ    จบข่าว :D :D :D :D
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: e20xfi ที่ กันยายน 11, 2015, 08:32:40 AM
รบกวนอีกนิดนะครับท่าอินทะเนียร์น้อย
แล้วการไฟฟ้าเช็คค่าkvarจากอะไรครับเค้ารู้ได้ยังไงที่ผมเข้าใจมิเตอร์มันแจ้งแต่Kwแล้วเค้าคำนวนยังไงครับรบกวนช่วยเฉลยหน่อยนะครับอยากรู้มาตั้งนานแล้ว
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ กันยายน 12, 2015, 05:38:38 AM
สวัสดีครับ ท่านe20xfi
เป็นคำถามที่ดีมาก และหลายคนนึกไม่ถึงว่า มีค่านี้ ในการชำระเงินค่าไฟฟ้า...ค่านี้ จะถูกยกเลิกไม่คิดสำหรับ ที่พักอาศัยนะครับ  ดังนั้น เราๆท่านๆที่ไม่มีโรงงานที่ใช้ไฟฟ้ามากๆ จะมี มิเตอร์ คิดค่าไฟฟ้า อยู่ ตัวเดียวคือ ..มิเตอร์ วัตตฮาวมิเตอร์ ...ส่วนโรงงานที่เข้าข้อกำหนดในการเก็บเงิน ค่า กิโลวาร์  จะมี ..มิเตอร์ กิโลวาร์มิเตอร์  ..ติดคู่กันอีกตัวครับ  ..พนักงานเก็บเงินก็จะอ่าน ค่าใช้ไฟฟ้า ทั้งสองตัวแล้ว เอาไป คำนวณเงินในใบแจ้งหนี้นะครับ  ...สรุปว่า อ่ายจาก Kvar meter นะครับ ไม่ได้คำนวณเอา ตามที่เข้าใจครับ  จบข่าว ;) ;) ;) ;) ;) ;)
ปล มี ไฟล์ค่าไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯมาให้ชมครับ  และภาพของ มิเตอร์ ทั้งสองชนิดนี้ ว่า มันมีจริง
(http://www.celsagermany.com/typo3temp/_processed_/csm_DQ96n-3_600-5A_400V_300KW_0ad0b43ff7.png)

(http://www.indotech.in/productimages/1356514956_mvar_meter.jpg)
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: e20xfi ที่ กันยายน 14, 2015, 12:01:48 AM
รบกวนอีกนิดครับแล้วมิเตอร์Kvarมีหลักการทำงานยังไงครับมันจับเอาพีคที่สูงสุดไปใช่หรือไม่ครับแล้วเค้ามีวิธีคิดยังไงครับ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ กันยายน 14, 2015, 09:11:42 AM
ชมคลิป ของอาจารย์แขก แล้วจะเข้าใจครับ ..อาจารย์ อินเดีย เขาเก่งจริง ครับ เขียนหนังสือขายเล่มหนาเท่ากับหมอน มาขายราคาถูกด้วย  ส่วนอาจารย์ แถวนี้ เอามาแปลขาย จนรวย  กลุ้ม  เเต่เดี๋ยวนี้ ยากครับ หลังจาก มีโชเชียลฯ ลองไปลอกเขาสิ ..ปิ๊ป..เท่านั้นคือ รางวัล..อิอิ    ก็ได้ ไล่ออก ดร .  ลอกผลงานไปเเล้วหนึ่ง ที่เหลือ ระวังละกัน  ...
อ้าว พร่ำสะยาว....ที่ว่า ค่า พีค(peak)..เขาจะคิดก็ต่อเมื่อ เกิร 15   นาที นะครับ เพราะถ้าเกินนี้ เเสดงว่า ใช้ไฟมากจริงๆ  ไม่ใช่ การสตาร์ทมอเตอร์ ธรรมดา   อิอิ  หวังว่าคงเป็นแนวทางที่จะเข้าใจได้ครับ     จบข่าว :D :D :D :D :D :D
เครดิต ยูทูป โดยnptelhrd,Pushpendrajaipur jangid,RODALCO2007
https://www.youtube.com/v/7S22cJ_aF9M

https://www.youtube.com/v/3YItyPkuCeI

https://www.youtube.com/v/VxGf0E1bZDc

หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: adulmr ที่ กันยายน 14, 2015, 01:43:01 PM
กระทู้นี้สุดยอดครับ
ยอดวิวกระเจิง สองหมื่นกว่า
ด้วยมีปรมาจารย์อินทะเนียร์น้อย ฉายา ซือแป๋เรียก อาจารย์
มาแนะนำให้ความรู้ในเรื่องนี้
ขอคารวะครับ
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ กันยายน 15, 2015, 08:08:32 AM
ท่านผูอาวุโส  .ชมข้าน้อยเกินไปเเย้วว...ก็ได้ สายตามที่เเหลมคมในปัญหาที่ไม่มีใครเห็นหยิบยกมาเป็นประเด็น ..ว้าว ไม่น่าเชื่อเลยจริงๆว่า ..เพจวิว กระทู้นี้ จะพุ่ง ขึ้นสูง ทะลุ สองหมื่น วิว  ..ว้าว  ท่าน ผู้อาวุโส  เคยนำกระทู้ยอดนิยอมของสำนักฯ มาแล้วครั้งหนึ่ง .นั่นคือ ..กล้วยน้ำว้าหมักน้ำผึ้ง ..สูตร พระธุดวค์ อันลือลั่น ..ยอดวิว ทะลุ ห้าหมื่น ไปแล้วครับ  พี่น้อง..ว้าว...ขอคารวะท่าน ผู้อาวุโส adulmr จอมยุทธ แห่งเเดนใต้ด้ามขวานทอง...สุดยอดๆๆๆๆๆๆๆๆ    จบข่าว :D :D :D :D :D :D :D :D :D
เครดิต ยูทูป โดยsongsupload

https://www.youtube.com/v/BlUD0-aZAQ8

หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: Dr.Ritth ที่ ตุลาคม 19, 2015, 08:45:34 AM
สวัสดีครับ เรื่่อง kW กับ kVA เนี่ยขอ แชร์ เพิ่มเติมนะครับ หากเป็น วิศวกร ก็คงจะไม่ใช่ปัญหาเท่าใดนัก หรือถ้าใครเข้าใจสามเหลี่ยม มหัศจรรย์ก็โลดเลยล่ะ แต่ถ้าเอาแบบชาวบ้าน เช่น 250 kW, 312.5 kVA, P.F 80%  จะอธิบายได้ว่า กำลังที่เกิด เท่ากับ 250 แต่ต้องใช้พลังงาน 312.5 (ถ้าคิดเป็นเงินก็จะประมาณว่า ใด้มูลค่า 250 บาท แต่จ่ายเงินไป 312.5 บาท เนื่องจากอุปกรณ์มีประสิทธิภาพแค่ 80 % หากเป็น 100 % ก็จะเป็นว่า ใด้มูลค่า 250 จ่าย 250 หรือใกล้เคียงครับ ฉะนี้แล้ว ในโรงงานอุตสาหกรรมจึงมีการปรับปรุงค่า เพาเวอร์แฟกเตอร์ เพื่อให้ใกล้เคียง 100% มากที่สุด
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ ตุลาคม 19, 2015, 12:34:39 PM
ขอขอบคุณ ท่าน Dr.Ritthที่ได้ มาให้ความรู้เพิ่ม..ในด้านพลังงานที่ใช้อย่างไม่มีความสูญเสียครับ....ที่จริงแล้วตรงนี้ แหละ ที่เป็น โบนัส เป่า    อิอิ     จบข่าว :D :D :D :D :D :D
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: Dr.Ritth ที่ ตุลาคม 24, 2015, 10:23:16 AM
อดที่จะเป็นห่วงไม่ได้ สำหรับ บางท่านที่ยังไม่กระจ่างกับคำว่า kW กับ kVA สำหรับท่านที่เข้าใจดีอยู่แล้ว ก็ข้าม หรือ ติชม กันไป เพื่อการพัฒนาละครับ ลองมองกลับไปที่ Name plate ของ Motor DELCO A.C ดูครับ จะเห็นว่า บอก  250 kW ,P.F 80% , 312.5 kVA , อธิบายได้ว่า เมื่อเกิดกำลังงาน 250 kW @ P.F 80% จะเกิดการจ่ายพลังงาน 312.5 kVA( โปรดสังเกตค่าที่ได้จากการคำนวณสามเหลี่ยมตามตาราง KVAR CUM SAVING ครั้งที่แล้วของผมจะเท่ากับ 313 kVA (ปัดเศษ)) หน่วยจากการไฟฟ้าที่จ่าย มีค่า เท่ากับ 312.5 กิโลวัตน์ฮาวน์ หรือ Unit หรือ หน่วยนั่นเอง(อันนี้คือหน่วยที่ต้องจ่ายไฟจริง) จ่ายไปเท่าไรก็ถือว่า บริโภคไปเท่านั้น (Consumption) แต่เกิดกำลังงานแค่ 250 kW
หัวข้อ: Re: kW กับ kVA ต่างกันไง
เริ่มหัวข้อโดย: อินทะเนียร์น้อย ที่ พฤศจิกายน 04, 2015, 08:17:28 AM
เรื่องของการประหยัดพลังงานไฟฟ้า นี่เป็นปัญหาใหญ่จิงๆครับ...เพราะมัน ลามไปในหลายภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างเขื่อนผลิตกระเเสไฟฟ้าซึ่งนั่นก็ไปกระทบสิ่งเเวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล  ...อาจทำให้อะไรๆ เปลี่ยนไป ..ดูอย่างเขื่อนที่พี่จีน กั้นแม่น้ำโขงละกัน ..ชาวบ้านท้ายเขื่อน เขา ..เซ็งกันไปตามๆกัน..ระวังอย่าให้ พญานาค ที่ชาวบ้านเขาเคารพนับถือ หมดอารมณ์ มั่งละกัน ..เขื่อนเเตก ..บรรลัยกันทั้งหมู่บ้าน นะจ๊ะ  ขอบอก  อิอิ
...วันนี้ มีผลงานของ วิศวกรไทย หัวรักษ์ สิงแวดล้อม และพลังงานครับ ...เป็นใครไม่บอกดูเอาเอง..จร้าาาาาา...เเหม่ ขนาด พวก ดารา ห่วยแตก ..ทำอะไร นสพ ไทย กระจายข่าว ตีข่าว ราวกับว่า ถ้าขาดพวกนั้น ..ไม่มีอะไรจะกิน และตายไปต่อหน้าต่อตา ..ขนาดจะฟาดกัน เลิกกันก็เอามาลงข่าวอยู่นั่นแหละ  ..มีใครถามเป่า..เฮ้อ
...นี่ของจริง ..ไม่มีใครถามต้องบอก เพราะ ถ้าขาดนี่ ..ตายตัวจริงครับ.....การเเก้พาวเวอเเฟคเตอร์ ของ Dr.Ritth..ว้าว.....ดูรูปก่อนแล้วค่อยไปกระทบไหล่  ..ว้าว    จบข่าว :D :D :D :D :D :D :D :D :D
ปล ..สถาบันนี้ ไม่ใช่ มจพ  นะครับ..เป็นสถาบันที่อบรมด้านวิศวกรรม โดยเฉพาะ..แบบมืออาชีพ อยู่ อมตะชลบุรี